วันประชาธิปไตย14 ตุลาคมของทุกปีเป็นวันประชาธิปไตยของไทย วันนี้เรามีประวัติความเป็นมาวันประชาธิปไตยไทยมาฝาก
แม้หลายคนจะทราบว่า ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนมีส่วนร่วม แต่รู้หรือไม่ว่า วันที่ 14 ตุลาคม ของทุกปี ถือเป็นอีกหนึ่งวันสำคัญของไทย อันได้แก่ วันประชาธิปไตย นั่นเอง ส่วนวันดังกล่าวมีประวัติความเป็นมาอย่างไร และเริ่มต้นขึ้นเมื่อใดนั้น วันนี้เรามี ประวัติวันประชาธิปไตย มาบอกกัน
ก่อนจะกล่าวถึงวันประชาธิปไตย คงต้องเท้าความย้อนไปเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เมื่อเกิดเหตุการณ์ทางการเมืองครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย โดยเหตุการณ์ในครั้งนั้น ได้รับการขนานนามว่า "วันมหาวิปโยค" เนื่องจากมี นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดนับแสนคน เดินขบวนเรียกต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยและคัดค้านอำนาจเผด็จการของรัฐบาลคณาธิปไตย สมัย พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร
โดยในครั้งนั้นได้มีการเคลื่อนไหวขับไล่กลุ่มเผด็จการทรราชออกจากอำนาจที่ยึดครองมาหลายสมัย รวมทั้งมีการเรียกร้องให้ปลดปล่อยนิสิต นักศึกษา อาจารย์ และนักการเมือง 13 คน ที่ถูกจับกุมฐานเรียกร้องรัฐธรรมนูญ แต่กลับถูกรัฐบาลตั้งข้อหากระทำผิดกฎหมาย ทำลายความมั่นคงของรัฐ เป็นกบฏภายในราชอาณาจักรและมีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ จากนั้นรัฐบาลได้ออกปราบปรามผู้ชุมนุมในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 โดยทหารและตำรวจได้ใช้อาวุธ รถถัง เฮลิคอปเตอร์ และแก๊สน้ำตา ยิงใส่ผู้ชุมนุม จนมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากเหตุการณ์ดังกล่าวได้ลุกลามใหญ่โต เมื่อประชาชนที่โกรธแค้นต่างร่วมมือกันต่อสู้ และบางส่วนได้เผาทำลายอาคารสถานที่และยานพาหนะของทางราชการ แต่ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงแก้ปัญหา เหตุการณ์จึงสงบ โดยจอมพลถนอม และจอมพลประภาส ได้ลาออกจากตำแหน่ง ก่อนเดินทางออกนอกประเทศ
ภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผู้บาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง ๆ และสำหรับผู้เสียชีวิต ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการพระราชทานเพลิงศพที่ทิศเหนือของท้องสนามหลวง และนำอัฐิไปลอยอังคารด้วยเครื่องบินของกองทัพอากาศที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย อีกทั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรีในเวลานั้น ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพื่อฟื้นฟูระเบียบของบ้านเมือง เพื่อประสานสามัคคีให้บ้านเมืองกลับคืนสู่ภาวะปกติโดยเร็ว และร่างรัฐธรรมนูญที่เหมาะสมในการปกครองประเทศ จากนั้นจึงมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2517 นอกจากนี้ มติของรัฐสภายังเห็นชอบให้มีการนำเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 บรรจุในหลักสูตรการศึกษา เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ทราบถึงเหตุการณ์สำคัญของชาติ ซึ่งถือว่ากรณีดังกล่าวเป็นการเมืองภาคประชาชน ที่มีผลต่อการพัฒนาการเมืองจนมีระบบรัฐสภาต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้
จากข้อมูลดังกล่าวในข้างต้นจะเห็นว่า วันประชาธิปไตย ถือเป็นวันสำคัญทางการเมือง ที่นอกจากจะทำให้ประชาชน คนรุ่นหลัง ได้ทราบถึงเส้นทางสายการเมืองในอดีตของประเทศไทยว่า กว่าจะมีระบอบประชาธิปไตยที่ใช้ปกครองบ้านเมืองอย่างสงบและเป็นแบบแผนดังเช่นทุกวันนี้ คนรุ่นก่อนได้เสียสละกันมากน้อยเพียงใด ดังนั้น ทุกคนควรปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย ด้วยการไม่นอนหลับทับสิทธิ์ และไม่ซื้อสิทธิ์ขายเสียงกันนะคะ
แม้หลายคนจะทราบว่า ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนมีส่วนร่วม แต่รู้หรือไม่ว่า วันที่ 14 ตุลาคม ของทุกปี ถือเป็นอีกหนึ่งวันสำคัญของไทย อันได้แก่ วันประชาธิปไตย นั่นเอง ส่วนวันดังกล่าวมีประวัติความเป็นมาอย่างไร และเริ่มต้นขึ้นเมื่อใดนั้น วันนี้เรามี ประวัติวันประชาธิปไตย มาบอกกัน
ก่อนจะกล่าวถึงวันประชาธิปไตย คงต้องเท้าความย้อนไปเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เมื่อเกิดเหตุการณ์ทางการเมืองครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย โดยเหตุการณ์ในครั้งนั้น ได้รับการขนานนามว่า "วันมหาวิปโยค" เนื่องจากมี นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดนับแสนคน เดินขบวนเรียกต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยและคัดค้านอำนาจเผด็จการของรัฐบาลคณาธิปไตย สมัย พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร
โดยในครั้งนั้นได้มีการเคลื่อนไหวขับไล่กลุ่มเผด็จการทรราชออกจากอำนาจที่ยึดครองมาหลายสมัย รวมทั้งมีการเรียกร้องให้ปลดปล่อยนิสิต นักศึกษา อาจารย์ และนักการเมือง 13 คน ที่ถูกจับกุมฐานเรียกร้องรัฐธรรมนูญ แต่กลับถูกรัฐบาลตั้งข้อหากระทำผิดกฎหมาย ทำลายความมั่นคงของรัฐ เป็นกบฏภายในราชอาณาจักรและมีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ จากนั้นรัฐบาลได้ออกปราบปรามผู้ชุมนุมในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 โดยทหารและตำรวจได้ใช้อาวุธ รถถัง เฮลิคอปเตอร์ และแก๊สน้ำตา ยิงใส่ผู้ชุมนุม จนมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากเหตุการณ์ดังกล่าวได้ลุกลามใหญ่โต เมื่อประชาชนที่โกรธแค้นต่างร่วมมือกันต่อสู้ และบางส่วนได้เผาทำลายอาคารสถานที่และยานพาหนะของทางราชการ แต่ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงแก้ปัญหา เหตุการณ์จึงสงบ โดยจอมพลถนอม และจอมพลประภาส ได้ลาออกจากตำแหน่ง ก่อนเดินทางออกนอกประเทศ
ภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผู้บาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง ๆ และสำหรับผู้เสียชีวิต ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการพระราชทานเพลิงศพที่ทิศเหนือของท้องสนามหลวง และนำอัฐิไปลอยอังคารด้วยเครื่องบินของกองทัพอากาศที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย อีกทั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรีในเวลานั้น ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพื่อฟื้นฟูระเบียบของบ้านเมือง เพื่อประสานสามัคคีให้บ้านเมืองกลับคืนสู่ภาวะปกติโดยเร็ว และร่างรัฐธรรมนูญที่เหมาะสมในการปกครองประเทศ จากนั้นจึงมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2517 นอกจากนี้ มติของรัฐสภายังเห็นชอบให้มีการนำเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 บรรจุในหลักสูตรการศึกษา เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ทราบถึงเหตุการณ์สำคัญของชาติ ซึ่งถือว่ากรณีดังกล่าวเป็นการเมืองภาคประชาชน ที่มีผลต่อการพัฒนาการเมืองจนมีระบบรัฐสภาต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้
จากข้อมูลดังกล่าวในข้างต้นจะเห็นว่า วันประชาธิปไตย ถือเป็นวันสำคัญทางการเมือง ที่นอกจากจะทำให้ประชาชน คนรุ่นหลัง ได้ทราบถึงเส้นทางสายการเมืองในอดีตของประเทศไทยว่า กว่าจะมีระบอบประชาธิปไตยที่ใช้ปกครองบ้านเมืองอย่างสงบและเป็นแบบแผนดังเช่นทุกวันนี้ คนรุ่นก่อนได้เสียสละกันมากน้อยเพียงใด ดังนั้น ทุกคนควรปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย ด้วยการไม่นอนหลับทับสิทธิ์ และไม่ซื้อสิทธิ์ขายเสียงกันนะคะ
วิเคาระห์
ได้มีการเคลื่อนไหวขับไล่กลุ่มเผด็จการทรราชออกจากอำนาจที่ยึดครองมาหลายสมัย
รวมทั้งมีการเรียกร้องให้ปลดปล่อยนิสิต นักศึกษา อาจารย์ และนักการเมือง 13 คน
ที่ถูกจับกุมฐานเรียกร้องรัฐธรรมนูญ แต่กลับถูกรัฐบาลตั้งข้อหากระทำผิดกฎหมาย
ทำลายความมั่นคงของรัฐ เป็นกบฏภายในราชอาณาจักรและมีการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์
จากนั้นรัฐบาลได้ออกปราบปรามผู้ชุมนุมในวันที่ 14 ตุลาคม 2516
โดยทหารและตำรวจได้ใช้อาวุธ รถถัง เฮลิคอปเตอร์ และแก๊สน้ำตา ยิงใส่ผู้ชุมนุม จนมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากเหตุการณ์ดังกล่าวได้ลุกลามใหญ่โต
เมื่อประชาชนที่โกรธแค้นต่างร่วมมือกันต่อสู้ และบางส่วนได้เผาทำลายอาคารสถานที่และยานพาหนะของทางราชการ
แต่ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงแก้ปัญหา
เหตุการณ์จึงสงบ โดยจอมพลถนอม และจอมพลประภาส ได้ลาออกจากตำแหน่ง ก่อนเดินทางออกนอพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผู้บาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง
ๆ และสำหรับผู้เสียชีวิต ทรงโปรดเกล้าฯ
ให้มีการพระราชทานเพลิงศพที่ทิศเหนือของท้องสนามหลวง และนำอัฐิไปลอยอังคารด้วยเครื่องบินของกองทัพอากาศที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา
อ่าวไทย อีกทั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ นายสัญญา
ธรรมศักดิ์ องคมนตรีในเวลานั้น
ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพื่อฟื้นฟูระเบียบของบ้านเมือง เพื่อประสานสามัคคีให้บ้านเมืองกลับคืนสู่ภาวะปกติโดยเร็ว
และร่างรัฐธรรมนูญที่เหมาะสมในการปกครองประเทศ
จากนั้นจึงมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2517ประเทศ
นาย วสุวัตร ประมูลศิลป์ รปศ 582เลขที่ 29
เป็นเชิงสรุปข่าว มากกว่าวิเคราะห์ค่ะ สรุปดี ตรวจคำผิดดีๆนะคะ
ตอบลบ